ช่วยค่ากับข้าวให้น้องในโรงเรียน

ระยะเวลาระดมทุน 1 ก.ค. 2566 ถึง 31 ธ.ค. 2566

พื้นที่ดำเนินโครงการ ทั่วประเทศ

เด็กและเยาวชน

ช่วยค่ากับข้าวให้น้องในโรงเรียน

เด็กและเยาวชน

ช่วยค่ากับข้าวให้น้องในโรงเรียน

ความยากจนของครอบครัว ทำให้เด็กใน ประเทศไทยกว่า 2.9 ล้านคน ขาดสารอาหาร จนทำให้ “ผอม เตี้ย พัฒนาการทางร่างกาย และสติปัญญาล่าช้า” FOOD FOR GOOD เป็นโครงการที่เข้าไปเติมเต็มมื้ออาหารในโรงเรียน ให้เด็กๆ ได้อิ่มท้องพร้อมสาร อาหารที่ครบถ้วน เพื่อสร้างรากฐานการ เจริญเติบโตที่แข็งแรง

ยอดบริจาค
444,378 บาท
เป้าหมาย
440,000 บาท
จำนวนผู้บริจาค 2,744

ปิดระดมทุนแล้ว

ความยากจนของครอบครัว ทำให้เด็กใน ประเทศไทยกว่า 2.9 ล้านคน ขาดสารอาหาร จนทำให้ “ผอม เตี้ย พัฒนาการทางร่างกาย และสติปัญญาล่าช้า” FOOD FOR GOOD เป็นโครงการที่เข้าไปเติมเต็มมื้ออาหารในโรงเรียน ให้เด็กๆ ได้อิ่มท้องพร้อมสาร อาหารที่ครบถ้วน เพื่อสร้างรากฐานการ เจริญเติบโตที่แข็งแรง

ระยะเวลาระดมทุน
1 ก.ค. 2566 ถึง 31 ธ.ค. 2566

พื้นที่ดำเนินโครงการ
ทั่วประเทศ

ปัญหาสังคมและวิธีการแก้ไขปัญหา

ช่วยค่ากับข้าวให้น้องในโรงเรียน
ช่วยค่ากับข้าวให้น้องในโรงเรียน
ช่วยค่ากับข้าวให้น้องในโรงเรียน
ช่วยค่ากับข้าวให้น้องในโรงเรียน
ช่วยค่ากับข้าวให้น้องในโรงเรียน
ช่วยค่ากับข้าวให้น้องในโรงเรียน
ช่วยค่ากับข้าวให้น้องในโรงเรียน

เด็กไทยกว่า40% มีภาวะทุพโภชนาการ จากการศึกษารายงานสถานการณ์ภาวะโภชนาการโดยสำนักโภชนาการกรมอนามัย FOOD FOR GOOD คาดการณ์ว่า มีเด็กไทย (อายุ 6-14 ปี) กว่า 2.9 ล้านคนจาก 7.09 ล้านคน ที่อาจจะมีภาวะเตี้ย ผอม หรืออ้วน

ช่วยค่ากับข้าวให้น้องในโรงเรียน

ปัญหาและอุปสรรคในการดูแลโภชนาการเด็กนักเรียนที่มีปัจจัยเกี่ยวข้องทั้งเรื่อง

  • ความจำกัดของงบประมาณค่าอาหาร กำลังคนสนับสนุนการดำเนินงานด้านโภชนาการระดับพื้นที่
  • บุคลากรระดับปฏิบัติการยังขาดองค์ความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพเด็กวัยเรียนแบบองค์รวม
  • พื้นที่ส่วนใหญ่ยังไม่มีระบบเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
  • ไม่มีการนำข้อมูลภาวะโภชนาการเด็กมาใช้ในการจัดการ ส่งเสริม และแก้ไขปัญหา
  • พฤติกรรมการบริโภครายบุคคล

การดำเนินโครงการ

ช่วยค่ากับข้าวให้น้องในโรงเรียน
  • เปิดรับสมัครโรงเรียนประสบปัญหาการจัดการโภชนาการในโรงเรียนขาดแคลนงบประมาณค่าอาหาร และต้องการเสริมองค์ ความรู้ เพื่อสร้างระบบการจัดการที่ยั่งยืนในโรงเรียน
  • สนับสนุนงบประมาณค่าอาหารและสนับสนุนให้เกิดแหล่งอาหารปลอดภัยในโรงเรียน
  • ส่งเสริมความรู้ด้านโภชนาการและการดูแลโภชนาการเด็กให้กับบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
  • ส่งเสริมให้โรงเรียนเป็นแหล่งเผยแพร่ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการให้กับนักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน
  • ผลักดันให้โรงเรียนสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชนและหน่วยงานในพื้นที่และช่วยกันดูแลเฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนา การของเด็กอย่างเป็นระบบ